หลักในการร้อยเรียงประโยค
ประโยคที่ร้อยเรียงกันอยู่นั้น ทั้งเนื้อความและลักษณะของถ้อยคำในประโยคจะต้องมีส่วนเกี่ยวข้องต่อเนื่องกัน เนื้อความในประโยคคือความคิดของผู้นำเสนอ จะต้องมีลำดับและมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือที่เรียกเป็นศัพท์เฉพาะทางวิชาการว่ามีเอกภาพ ส่วนลักษณะถ้อยคำที่ทำให้ประโยคเกี่ยวข้องต่อเนื่องกันอาจเกิดจากวิธีต่าง ๆ ได้แก่ การเชื่อม การแทน การละและ การซ้ำ
การเชื่อม การเชื่อมประโยคให้ต่อเนื่องกัน อาจใช้คำเชื่อมหรือเรียกว่า คำสันธาน หรือใช้กลุ่มคำเชื่อม หรือที่เรียกว่า สันธานวลี ประกอบด้วย ข้อต่าง ๆดังนี้
๑. คำสันธานบางคำและสันธานวลีบางวลีแสดงว่า ประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความ คล้อยตามกัน เช่น และ ทั้ง อนึ่ง อีกประการหนึ่ง อีกทั้ง รวมทั้ง ตัวอย่างเช่น
ฉันตัดสินใจเรียนหนังสือและทำงานไปด้วย
๒. คำสันธานบางคำและสันธานวลีบางวลีแสดงว่า ประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความขัดแย้งกัน เช่น แต่ แต่ทว่า แม้ แม้แต่ แม้ว่า ตัวอย่างเช่น
๓. คำสันธานบางคำและสันธานวลีบางวลีแสดงว่า ประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น หรือ หรือไม่ก็ ตัวอย่างเช่น
๔. คำสันธานบางคำและสันธานวลีบางวลีแสดงว่าประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความเป็นเหตุเป็นผลกัน เช่น จึง เลย จน จนกระทั่ง ตัวอย่างเช่น
๕. คำสันธานบางคำและสันธานวลีบางวลีแสดงว่าประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความเกี่ยวข้องกันทางเวลา เช่น แล้ว แล้วจึง และแล้ว ต่อจากนั้น ต่อมา ตัวอย่างเช่น
ตำรวจรู้ตัวผู้กระทำผิดแล้ว แต่ยังไม่มีหลักฐานเพียงพอ
๓. คำสันธานบางคำและสันธานวลีบางวลีแสดงว่า ประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น หรือ หรือไม่ก็ ตัวอย่างเช่น
เธอจะอยู่กับเขาหรือเธอจะไปกับฉัน
๔. คำสันธานบางคำและสันธานวลีบางวลีแสดงว่าประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความเป็นเหตุเป็นผลกัน เช่น จึง เลย จน จนกระทั่ง ตัวอย่างเช่น
เขาทำงานอย่างหนักสุขภาพจึงทรุดโทรม
๕. คำสันธานบางคำและสันธานวลีบางวลีแสดงว่าประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความเกี่ยวข้องกันทางเวลา เช่น แล้ว แล้วจึง และแล้ว ต่อจากนั้น ต่อมา ตัวอย่างเช่น
เขามางานเลี้ยงในตอนเช้าต่อจากนั้นตอนบ่ายเขาก็กลับบ้าน
๖.คำสันธานบางคำและสันธานวลีบางวลีแสดงว่าประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความเกี่ยวข้องกันในแง่ที่เป็นเงื่อนไข เช่น ถ้า ถ้า...แล้ว แม้ว่า หากว่า เมื่อ...ก็ หาก...ก็ ตัวอย่างเช่น
การซ้ำ หากประโยค ๒ ประโยค มีส่วนกล่าวถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การกระทำหรือสภาพเดียวกัน ประโยคทั้งสองมักจะมีคำหรือวลีที่หมายถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การกระทำหรือสภาพนั้น ๆ ปรากฏซ้ำ ๆ การซ้ำคำหรือวลีจึงแสดงความเกี่ยวข้องของประโยคได้ เช่น
ประโยคหน้าและประโยคหลังกล่าวถึงสิ่งเดียวกันคือ กระเป๋ากับร่มจึงมีคำ กระเป๋ากับร่มซ้ำกัน
หมายเหตุ
๑. ในกรณีที่มีคำซ้ำกันเช่นนี้ คำที่ซ้ำอาจมีคำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ(นิยมวิเศษณ์) นี้ นั้น โน้น นี่ นั่น มาขยาย เพื่อชี้เฉพาะว่าเป็นสิ่งที่กล่าวถึงไปแล้ว เช่น
ประโยคหน้าและประโยคหลังกล่าวถึงสิ่งเดียวกัน คือบริเวณนี้เป็นแหล่งโบราณคดี จึงมีคำว่า บริเวณ ซ้ำกันและมีคำ นี้ ขยายบริเวณ ในประโยคหลังเพื่อช่วยระบุว่าเป็นบริเวณเดียวกันกับที่กล่าวในประโยคแรก
๒. หากคำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะใช้ขยายคำในประโยคหน้าอยู่แล้ว คำที่อยู่ในประโยคหลังมักจะไม่มีคำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะขยาย เช่น
ประโยคหน้าและประโยคหลังมีส่วนกล่าวถึงคนคนเดียวกันและการกระทำเดียวกันจึงมีคำนาม เด็กซ้ำกัน คำว่านี้ขยายคำว่า เด็ก ในประโยคหน้าอยู่แล้วจึงไม่ใช้ในประโยคหลังและมีคำกริยา รับผิดชอบซ้ำกัน
ถ้าเรามีความขยันอย่างแท้จริงเราก็ไม่สอบตก
การซ้ำ หากประโยค ๒ ประโยค มีส่วนกล่าวถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การกระทำหรือสภาพเดียวกัน ประโยคทั้งสองมักจะมีคำหรือวลีที่หมายถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การกระทำหรือสภาพนั้น ๆ ปรากฏซ้ำ ๆ การซ้ำคำหรือวลีจึงแสดงความเกี่ยวข้องของประโยคได้ เช่น
ฉันวางกระเป๋ากับร่มไว้บนโต๊ะ ประเดี๋ยวเดียวกระเป๋าหายไปแล้วร่มยังอยู่
ประโยคหน้าและประโยคหลังกล่าวถึงสิ่งเดียวกันคือ กระเป๋ากับร่มจึงมีคำ กระเป๋ากับร่มซ้ำกัน
หมายเหตุ
๑. ในกรณีที่มีคำซ้ำกันเช่นนี้ คำที่ซ้ำอาจมีคำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ(นิยมวิเศษณ์) นี้ นั้น โน้น นี่ นั่น มาขยาย เพื่อชี้เฉพาะว่าเป็นสิ่งที่กล่าวถึงไปแล้ว เช่น
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของไทยคือบริเวณเมืองอู่ทอง ในจังหวัดสุพรรณบุรี นักโบราณคดีหลายท่านเชื่อว่าบริเวณนี้ น่าจะเป็นศูนย์กลางดั้งเดิมของอาณาจักรฟูนัน
๒. หากคำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะใช้ขยายคำในประโยคหน้าอยู่แล้ว คำที่อยู่ในประโยคหลังมักจะไม่มีคำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะขยาย เช่น
เด็กคนนี้ มูลนิธิรับผิดชอบค่าเล่าเรียนแม่ของเด็กรับผิดชอบค่าใช้จ่ายอื่น ๆ
ประโยคหน้าและประโยคหลังมีส่วนกล่าวถึงคนคนเดียวกันและการกระทำเดียวกันจึงมีคำนาม เด็กซ้ำกัน คำว่านี้ขยายคำว่า เด็ก ในประโยคหน้าอยู่แล้วจึงไม่ใช้ในประโยคหลังและมีคำกริยา รับผิดชอบซ้ำกัน
๓. คำที่ขยายคำที่ซ้ำกันนั้น นอกจากคำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะแล้ว อาจมีคำชนิดอื่นอีกบ้าง
การละ ในบางกรณีเมื่อประโยคหน้าและประโยคหลังมีส่วนกล่าวถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การกระทำ หรือสภาพเดียวกัน อาจไม่จำเป็นต้องกล่าวซ้ำ เช่น
ประโยคหน้าและประโยคต่อ ๆไป กล่าวถึงบุคคลเดียวกัน คือ คนขับรถ คำนาม คนขับรถเป็นประธานในประโยคหลังด้วยแต่ละไว้
การละ ในบางกรณีเมื่อประโยคหน้าและประโยคหลังมีส่วนกล่าวถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การกระทำ หรือสภาพเดียวกัน อาจไม่จำเป็นต้องกล่าวซ้ำ เช่น
คนขับรถ กระโดดลงจากรถ ฉวยกระเป๋าได้ รีบเดินเข้าบ้าน
ประโยคหน้าและประโยคต่อ ๆไป กล่าวถึงบุคคลเดียวกัน คือ คนขับรถ คำนาม คนขับรถเป็นประธานในประโยคหลังด้วยแต่ละไว้
การแทน ในกรณีที่ผู้พูดหรือผู้เขียนไม่ต้องการใช้วิธีซ้ำหรือวิธีละเมื่อกล่าวถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การกระทำ หรือสภาพเดียวกัน ก็อาจใช้วิธีนำคำหรือวลีอื่นมาแทน การใช้คำหรือวลีอื่นมาแทนจึงแสดงความเกี่ยวเนื่องกันของประโยค เช่น
ประโยคหน้าและประโยคหลังกล่าวถึงบุคคลคนเดียวกันคือ ลูกชายของหญิงชรา คำสรรพนาม เขา ในประโยคหลัง หมายถึง ลูกชายของหญิงชรา ที่กล่าวถึงในประโยคหน้า
ลูกชายของหญิงชรา จากบ้านไปนานแล้ว เขา อาจเสียชีวิตไปแล้วก็ได้
ประโยคหน้าและประโยคหลังกล่าวถึงบุคคลคนเดียวกันคือ ลูกชายของหญิงชรา คำสรรพนาม เขา ในประโยคหลัง หมายถึง ลูกชายของหญิงชรา ที่กล่าวถึงในประโยคหน้า
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น